2.การแลกเปลี่ยนความร่วมมือระหว่างกัน
ไทยกับฝรั่งเศสเริ่มมีความสัมพันธ์ระหว่างกันตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา
ในรัชสมัยของสมเด็จ พระนารายณ์มหาราช และพระเจ้าหลุยส์ที่ ๑๔
ซึ่งได้ส่งราชทูตมาเจริญสัมพันธไมตรีกับสยามเมื่อปี ๒๒๒๘ ต่อมา ราชทูตสยาม
(โกษาปาน) ได้เดินทางไปเข้าเฝ้าพระเจ้าหลุยส์ที่ ๑๔ ณ พระราชวังแวร์ซายส์ เมื่อปี
๒๒๒๙ ในยุคกรุงรัตนโกสินทร์
ความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างไทยกับฝรั่งเศสได้พัฒนาอย่างต่อเนื่อง
โดยได้มีการลงนาม อ่านเพิ่มเติม
วันพฤหัสบดีที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2558
บบที่8 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
1. การประสานประโยชน์
2. การประสานประโยชน์
หมายถึง การร่วมมือกันเพื่อรักษาและปกป้อง ผลประโยชน์ของตนและเป็นการระงับกรณี
ความขัดแย้งที่มาจากการแข่งขันทางการเมอง และเศรษฐกิจทางต่างประเทศ
3. องค์การสันนิบาตชาติ
(League of Nations) หลังจากสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 1
ประธานาธิบดีวูดโรว์วิลสัน แห่ง สหรัฐอเมริกา ได้เสนอให้ก่อตั้งองค์การสันนิบาตชาติขึ้น
เพื่อเป็นองค์การ กลางที่จะใช้แก้ปัญหากรณีพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธี
ได้มีการ ประชุมครั้งแรก ณ นครเจนิวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
4. สมาชิกภาพ ประเทศที่เป็นฝ่ายชนะในสงครามโลกครั้งที่
1 ทุกประเทศได้ร่วมลงนามในสนธิสัญญา สันติภาพ
เป็นสมาชิกขององค์การสันนิบาต ชาติโดยอัตโนมัติ ประเทศที่แพ้สงครามมี
สิทธิ์เข้าเป็นสมาชิกขององค์การได้ ส่วน
สหรัฐอเมริกาแม้จะเป็นผู้ริเริ่มองค์การนี้ก็ ไม่ได้เป็นสมาชิก
เนื่องจากสภาคองเกรส ของสหรัฐอเมริกาไม่ยอมให้สัตยาบัน ซึ่งมี นโยบายไม่ยุ่งเกี่ยวและแทรกแซงทาง
การเมืองของประเทศทางยุโรป
5. วัตถุประสงค์ อ่านเพิ่มเติม
บทที่7 สิทธิมนุษยชน
2.สิทธิมนุษยชนในประเทศไทย
จัดแบ่งออกเป็น 3 ประเภทคือ
- สิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ซึ่งหมายถึงสิทธิในชีวิต เนื้อตัว ร่างกาย ในศักดิ์ ในความเท่าเทียมกัน โดยเฉพาะทางกฎหมาย สิทธิที่จะได้รับความยุติธรรมในกระบวนการยุติธรรม สิทธิที่จะไม่ถูกทรมาน ไม่ถูกบังคับให้สูญหาย ไม่ถูกบังคับให้เป็นทาส สามารถเดินทางย้ายถิ่น ( ในขอบเขตประเทศของตนและกลับประเทศตนเองได้ ) อย่างเสรี รวมไปถึงสิทธิในการสร้างครอบครัวที่เลือกเอง การมีชื่อ มีสถานะบุคคล รวมถึงชาติ เสรีภาพในการเลือกนับถือ ( หรือไม่นับถือ ) ศาสนา ฯลฯ ในขณะเดียวกัน มนุษย์แต่ละคนต้องอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคม ซึ่งย่อมต้องการมีส่วนร่วมในสังคมการเมือง ดังนั้น สิทธิในการเลือกตั้ง การมีส่วนร่วมในทางการเมือง สิทธิในการแสดงออกซึ่งความคิดเห็น การพูด สิทธิในการสื่อสารและข้อมูลข้าวสาร สิทธิในการรวมกลุ่มและรวมตัวกัน
- สิทธิในทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม สิทธิพื้นฐานสำคัญไม่อาจถูกละเมิดได้คือ สิทธิที่จะมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีและอย่างมีศักดิ์ศรี ซึ่งนั่นหมายถึงว่า แต่ละคนต้องมีงานทำและได้รับค่าจ้างที่เท่าเทียมกันในงานประเภทเดียวกัน มีสภาพการทำงานที่ปลอดภัย สามารถรวมตัวกันต่อรอง เพื่อสวัสดิภาพและสวัสดิการของตนเองและครอบครัวได้ มีปัจจัยสี่ที่พร้อมเพียง ไม่ว่าจะเป็นอาหาร ที่อยู่อาศัย การเข้าถึงบริการทางการแพทย์และสุขอนามัย การถือครองทรัพย์สิน ( ตราบเท่าที่ไม่เบียดเบียนและไม่ทำให้ผู้อื่นหมดทางทำมาหากิน ) การได้รับการศึกษาเท่าที่ต้องการและเท่าที่ความสามารถในการเรียนรู้จะอำนวยให้ รวมถึงสิทธิที่จะได้รับประโยชน์จากผลพวงของการพัฒนาทั้งทางเศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรมและความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทั้งหลาย ฯลฯ
- สิทธิในการพัฒนา การได้รับประโยชน์จากการพัฒนา การมีสิ่งแวดล้อมที่ดี การที่สามารถใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและรักษาดูแลสำหรับตนเองแลเพื่อชนรุ่นหลัง การดูแลรักษาศิลปวัฒนธรรม ร่วมกันในกลุ่มและชุมชน สิทธิในการกำหนดใจและอนาคตตนเอง ซึ่งหมายรวมถึง การมีสิทธิในการกำหนด แนวทางการพัฒนาประเทศและชุมชนทั้งหมดนี้ก็เพื่อไปให้ถึงสิทธิอีกอย่างหนึ่งคือ สิทธิที่จะมีสันติภาพและการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ
บทที่7 สิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชน เป็นหลักทางศีลธรรมแจกแจงมาตรฐานบางอย่างของพฤติกรรมมนุษย์
และได้รับการคุ้มครองเป็นสิทธิตามกฎหมายเป็นปกติในกฎหมายระดับชาติและนานาชาติ
สิทธิเหล่านี้ "เข้าใจทั่วไปว่าเป็นสิทธิมูลฐานอันไม่โอนให้กันได้ซึ่งบุคคลมีสิทธิในตัวเองเพียงเพราะเธอหรือเขาเป็นมนุษย์"
ฉะนั้น จึงเข้าใจว่าสิทธิมนุษยชนเป็นสิ่งสากล (มีผลทุกที่) และเสมอภาค
(เท่าเทียมสำหรับทุกคน) ลัทธิสิทธิมนุษยชนมีอิทธิพลอย่างสูงในกฎหมายระหว่างประเทศ
สถาบันระดับโลกและภูมิภาค
สิทธิ
หมายถึง สิทธิตามกฎหมายหรือศีลธรรม ที่จะกระทำหรือไม่กระทำบางอย่าง หรือ
ที่จะได้รับ หรือ ไม่ได้รับ บางอย่างในสังคมอารยะ (Civil Society) สิทธิทำหน้าที่เหมือนกฎในการปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลของบุคคลหนึ่งบุคคลใดควรจะได้รับการปฏิบัติอย่างเท่าเทียมเช่นกัน.
เสรีภาพ
คื อ่านเพิ่มเติม
บทที่6กฎหมาย
2.ข้อตกลงระหว่างประเทศ
คำนิยามของ ข้อตกลงระหว่างประเทศ กับ
สนธิสัญญา
( ตอนที่
1 )
คำนิยามของคำว่า
ข้อตกลงระหว่างประเทศ
กับ
สนธิสัญญา
ทั้งสองคำนี้มีความหมายคล้ายคลึงกัน
แต่ในขณะเดียวกันก็มีข้อแตกต่างกันอยู่
ในประเด็นข้อกฎหมายต่างๆ
ดังจะกล่าวต่อไปนี้
1.1 คำนิยามข้อตกลงระหว่างประเทศ
บ่อเกิดของกฎหมายระหว่างประเทศที่เกิดจากข้อตกลง
ก็คือบ่อเกิดที่เกิดจาก
ข้อตกลงระหว่างประเทศ ซึ่งหมายถึง การกระทำทางกฎหมายหลายฝ่ายที่ตกลงทำกันขึ้นระหว่างบุคคลในกฎหมายระหว่างประเทศและอยู่ภายใต้กฎหมายระหว่างประเทศ
บทที่6กฎหมาย
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน ประเทศชาติ
1. ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับกฎหมาย
2. กฎหมายแพ่งที่เกี่ยวข้องกับตนเองและครอบครัว
3. กำหมายแพ่งที่เกี่ยวกับนิติกรรมสัญญา
4. กฎหมายอาญา
5. โมฆกรรมและโมฆียกรรม
6. กฎหมายอื่นที่สำคัญ
7. ข้อตกลงระหว่างประเทศ อ่านเพิ่มเติม
บทที่5การปกครองประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
การจัดตั้งองค์กรทางการเมืองสืบเนื่องมาจากการที่มนุษย์รวมตัวกันขึ้นเป็นสังคม
จุดเริ่มต้นของการรวมตัวเป็นสังคม คือ การรวมกลุ่มขึ้นเป็นครอบครัว
จากกลุ่มครอบครัวขยายเป็นเผ่าชน หรือเป็นรูปแบบเหล่ากอ หรือโคตรตระกูล
จากนั้นกลายเป็นนครรัฐ จากนครรัฐแปรสภาพเป็นจักรวรรดิ
ซึ่งมีระยะเวลาคาบเกี่ยวกับนครรัฐ จนถึงสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลง มีการจัดองค์กรทางการเมืองเป็นรัฐประชาชาติ หรือ “รัฐ” “ชาติ” หรือ “ประเทศ” ซึ่งเป็นการจัดรูปแบบองค์กรทางการเมืองในปัจจุบัน
และเป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป
ศัพท์ทั้ง 3 สามารถใช้แทนกันได้ บางครั้งเรียก “รัฐ” ว่า “ประเทศ” หรือ “ชาติ” เช่น ชาติไทย หรือประเทศไทย
เป็นต้น ส่วนที่ใช้ความหมายเฉพาะแต่ละศัพท์ ซึ่งมีความโน้มเอียงไปทางใดทางหนึ่ง
อาจมีความแตกต่างกัน
บทที่4 พลเมืองดี
2. คุณลักษณะของพลเมืองดีที่สำคัญและจำเป็นสำหรับการอยู่ร่วมกันอย่างราบรื่น และช่วยจรรโลงให้สังคมประเทศชาติและโลกพัฒนาก้าวหน้า มีดังนี้
1.ต้องเป็นบุคคลที่เคารพกฏหมาย
2.ต้องเป็นบุคคลที่เคารพสิทธิและเสรีภาพของตนเองและบุคคลอื่น
3.ต้องเป็นบุคคลที่มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่มีต่อครอบครัว ดรงเรียน ชุมชน ประเทศชาติ และสังคมโลก
4.ต้องเป็นบุคคลที่มีเหตุผล ใจกว้าง และรับฟังความคิดเห็นของคนบุคคลอื่นเสมอ
5.ต้องเป็นบุคคลที่มีคุณธรรมและจริยธรรมในการดำเนินชีวิตประจำวัน
6.ต้องเป็นบุคคลที่มีความกระตือรือร้นที่จะเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาของชุมชน ประเทศชาติ และสังคมโลก หรือองค์กรที่ตนสังกัดอยู่ เช่น ร่วมกันแก้ไขปัญหาและพัฒนาสภาพแวดล้อมของโรงเรียนและชุมชนให้ดีขึ้น เป็นต้น
7.ต้องเป็นบุคคลที่มีความสนใจและกระตือรือร้นที่จะเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ทางการเมืองการปกครอง เช่น การไปใช้สิทธิเลือกตั้ง เป็นต้น
3.ต้องเป็นบุคคลที่มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่มีต่อครอบครัว ดรงเรียน ชุมชน ประเทศชาติ และสังคมโลก
4.ต้องเป็นบุคคลที่มีเหตุผล ใจกว้าง และรับฟังความคิดเห็นของคนบุคคลอื่นเสมอ
5.ต้องเป็นบุคคลที่มีคุณธรรมและจริยธรรมในการดำเนินชีวิตประจำวัน
6.ต้องเป็นบุคคลที่มีความกระตือรือร้นที่จะเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาของชุมชน ประเทศชาติ และสังคมโลก หรือองค์กรที่ตนสังกัดอยู่ เช่น ร่วมกันแก้ไขปัญหาและพัฒนาสภาพแวดล้อมของโรงเรียนและชุมชนให้ดีขึ้น เป็นต้น
7.ต้องเป็นบุคคลที่มีความสนใจและกระตือรือร้นที่จะเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ทางการเมืองการปกครอง เช่น การไปใช้สิทธิเลือกตั้ง เป็นต้น
บทที่4 พลเมืองดี
1.พลเมืองดี แนวทางการปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีควรมีแนวทางการปฏิบัติตนดังนี้ คือ
1) ด้านสังคม ได้แก่
(1) การแสดงความคิดอย่างมีเหตุผล
(2) การรับฟังข้อคิดเห็นของผู้อื่น
(3) การยอมรับเมื่อผู้อื่นมีเหตุผลที่ดีกว่า
(4) การตัดสินใจโดยใช้เหตุผลมากกว่าอารมณ์
(5) การเคารพระเบียบของสังคม
(6) การมีจิตสาธารณะ คือ เห็นแก่ประโยชน์ของส่วนรวมและรักษาสาธารณสมบัติ
2) ด้านเศรษฐกิจ ได้แก่
(1) การปร อ่านเพิ่มเติม
1) ด้านสังคม ได้แก่
(1) การแสดงความคิดอย่างมีเหตุผล
(2) การรับฟังข้อคิดเห็นของผู้อื่น
(3) การยอมรับเมื่อผู้อื่นมีเหตุผลที่ดีกว่า
(4) การตัดสินใจโดยใช้เหตุผลมากกว่าอารมณ์
(5) การเคารพระเบียบของสังคม
(6) การมีจิตสาธารณะ คือ เห็นแก่ประโยชน์ของส่วนรวมและรักษาสาธารณสมบัติ
2) ด้านเศรษฐกิจ ได้แก่
(1) การปร อ่านเพิ่มเติม
บทที่3 วัฒนธรรม
2.วัฒนธรรมไทย วัฒนธรรมไทยมีที่มาจากปัจจัยต่าง ๆ ดังนี้
- สิ่งแวดล้อมทางภูมิศาสตร์ เนื่องจากสังคมไทยมีลักษณะทางด้านภูมิศาสตร์เป็นที่ราบลุ่มและอุดมสมบูรณ์ด้วยแม่น้ำลำคลอง คนไทยได้ใช้น้ำในแม่น้ำ ลำคลอง ในการเกษตรกรรมและการอาบ กิน เพราะฉะนั้นเมื่อถึงเวลาหน้าน้ำ คือ เพ็ญเดือน 11 และเพ็ญ เดือน 12 ซึ่งอยู่ในห้วงเวลาปลายเดือนตุลาคมและปลายเดือนพฤศจิกายน อันเป็นระยะเวลา ที่ น้ำไหลหลากมาจากทางภาคเหนือของประเทศ คนไทยจึงจัดทำกระทงพร้อม ด้วยธูปเทียนไปลอย ในแม่น้ำลำคลอง เพื่อเป็นการขอขมาลาโทษแม่คงคา และขอพรจากแม่คงคา เพราะได้อาศัยน้ำกิน น้ำใช้ ทำให้เกิด "ประเพณีลอยกระทง" นอกจากนั้นยังมีประเพณีอื่น ๆ อีกในส่วนที่เกี่ยวกับ แม่น้ำลำคลอง เช่น "ประเพณีแข่งเรือ"
- ระบบการเกษตรกรรม สังคมไทยเป็นสังคมเกษตรกรรม (agrarian society) กล่าวคือ ประชากรร้อยละ 80 ประกอบอาชีพเกษตรกรรม หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งได้ว่า คนไทยส่วนใหญ่มีวิถีชีวิตผูกพันกับระบบการเกษตรกรรม และระบบการเกษตรกรรมนี้เอง ได้เป็น ที่มาของวัฒนธรรมไทยหลายประการ เช่น ประเพณีขอฝน ประเพณีลงแขก และการละเล่น เต้นกำรำเคียว เป็นต้น
- ค่านิยม (Values) กล่าวได้ว่า "ค่านิยม" มีความเกี่ยวพันกับ วัฒนธรรมอย่างใกล้ชิด และ "ค่านิยม" บางอย่างได้กลายมาเป็น "แกน" ของวัฒนธรรมไทยกล่าวคือ วิถีชีวิตของคนไทยโดยส่วนรวมมีเอกลักษณ์ซึ่งแสดงออกถึงอิสรภาพและเสรีภาพ
- การเผยแพร่ทางวัฒนธรรม (Cultural diffusion) วัฒนธรรมทาง หนึ่ง ย่อม แตกต่างไปจากวัฒนธรรมทางสังคมอื่น ๆ ทั้งนี้เพราะวัฒนธรรมมิได้เกิดขึ้นมาใน ภาชนะ ที่ถูกผนึกตราบเท่าที่มนุษย์ เช่น นักท่องเที่ยว พ่อค้า ทหาร หมอสอนศาสนา และผู้อพยพยังคง ย้ายถิ่นที่อยู่จากแห่งหนึ่งไปยังแห่งอื่น ๆ เขาเหล่านั้นมักนำวัฒนธรรมของพวกเขาติดตัว ไปด้วย เสมอ ซึ่งถือได้ว่า เป็นการเผยแพร่ทางวัฒนธรรม เป็นไปได้อย่างสะดวกรวดเร็วและกว้างขวาง ประจักษ์ พยานในเรื่องนี้จะเห็นได้ว่าน้ำอัดลมชื่อต่าง ๆ มีอยู่ทั่วทุกมุมโลก วัฒนธรรมของสังคมอื่น ซึ่งได้เผยแพร่เข้ามาในสังคมไทย
บทที่3 วัฒนธรรม
1.วัฒนธรรม หมายรวมถึง ทุกสิ่ง
ทุกอย่างที่มนุษย์สร้างขึ้นมา นับตั้งแต่ภาษา ขนบธรรมเนียมประเพณี ศาสนา
กฎหมาย ศิลปะ จริยธรรม
ตลอดจนวิทยาการและเทคโนโลยีต่าง ๆ อาจกล่าวได้ว่าวัฒนธรรมเป็นเครื่องมือที่มนุษย์
คิดค้นขึ้นมาเพื่อช่วยให้มนุษย์สามารถดำรงอยู่ต่อไปได้ เพราะการจะมีชีวิตอยู่ในโลกนี้ได้มนุษย์จะต้องรู้จักใช้ประโยชน์จากธรรมชาติและจะต้องรู้จักควบคุมความประพฤติของมนุษย์ด้วยกัน
วัฒนธรรม คือคำตอบที่มนุษย์ในสังคมคิดขึ้นมาเพื่อแก้ปัญหาเหล่านี้
องค์ประกอบของวัฒนธรรม
วัฒนธรรมเป็นผลจากการที่มนุษย์ได้เข้าควบคุมธรรมชาติและพฤติกรรมของมนุษย์
ทำให้เกิดการจัดระเบียบทางสังคม ระบบความเชื่อ
ศิลปกรรม
บทที่2 การเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาทางสังคม
2.แนวทางการแก้ไขปัญหาและพัฒนาสังคม การพัฒนาสังคมมีขอบเขตกว้างขวาง เพราะปัญหาของสังคมมีมากและสลับซับซ้อน การแก้ปัญหาสังคมจึงต้องทำอย่าง รอบคอบ และต้องอาศัยความร่วมมือกันของบุคคลจากหลาย ๆ ฝ่าย และโดยเฉพาะอย่างยิ่งประชาชนในสังคมนั้น ๆ จะต้องรับรู้
พร้อมที่จะให้ข้อมูลที่ถูกต้องและเข้ามามีส่วนร่วมด้วยเสมอ การพัฒนาสังคมจึงต้องเป็นทั้งกระบวนการ วิธีการ กรรมวิธีเปลี่ยนแปลง และแผนการดำเนินงาน กล่าวคือ
1. เป็นกระบวนการ (Process) เพราะการแก้ปัญหาสังคมต้องกระทำต่อเนื่องกันอย่างมีระบบ เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง จากลักษณะหนึ่งไปสู่อีกลักษณะหนึ่ง ซึ่งจะต้องเป็นลักษณะที่ดีกว่าเดิม
2. เป็นวิธีการ (Method) คือต้องกำหนดวิธีการในการดำเนินงาน โดยเฉพาะเน้นความร่วมมือของประชาชนในสังคมนั้นกับ เจ้าหน้าที่ของรัฐบาลที่จะทำงานร่วมกัน และวิธีการนี้ต้องเป็นที่ยอมรับว่าสามารถนำการเปลี่ยนแปลงมาสู่สังคมได้อย่างถาวรและมีประโยชน์ต่อสังคม
3. เป็นกรรมวิธีเปลี่ยนแปลง (Movement) การพัฒนาสังคมจะต้องทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงให้ได้และ
จะต้องเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น โดยเฉพาะเน้นการเปลี่ยนแปลงทัศนคติของตน เพื่อให้เกิดสำนึกในการมีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อผลประโยชน์ของส่วนรวม และรักความเจริญก้าวหน้าอันจะนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางวัตถุ
4. เป็นแผนการดำเนินงาน (Planning) การพัฒนาสังคมจะต้องทำอย่างมีแผนมีขั้นตอน สามารถตรวจสอบและประเมินผลได้ แผนงานนี้จะต้องมีทุกระดับ นับตั้งแต่ระดับชาติ คือ แผนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ง
ชาติ ลงมาจนถึงระดับผู้ปฏิบัติ แผนงานมีความสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งในการพัฒนาสังคม
บทที่2 การเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาทางสังคม
1.ปัญหาทางสังคม
1. ปัญหาความยากจน มีสาเหตุเกิดจาก
1. การเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากร
2. การขาดการศึกษา ทำให้มีรายได้ต่ำ
3. ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
4. ลักษณะอาชีพมีรายได้ไม่แน่นอนสม่ำเสมอ เช่นกรรมกร รับจ้าง
5. มีบุตรมากเกินไป รายได้ไม่พอกับรายจ่าย
6. มีลักษณะนิสัยเฉื่อยชาและเกียจคร้าน ไม่ชอบทำงาน
2. การเปลี่ยนแปลงทางสังคมมากขึ้น
3. สิ่งแวดล้อมทางเศรษฐกิจและสังคม
4. มีค่านิยมในทางที่ผิด
2. ประกอบอาชีพบางอย่างที่ต้องการเพิ่มงานมากขึ้น
3. ความอยากรู้และอยากทดลอง
4. สภาวะแวดล้อมไม่ดี
4. ปัญหาสิ่งแวดล้อม
เช่น อากาศเป็นพิษ น้ำเน่าเสีย เสียงเป็นพิษ ขยะมูลฝอย เป็นต้น มีสาเหตุเกิดจาก
1. การเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากรอย่างรวดเร็ว
2. เกิดจากความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
3. การขยายตัวทางด้านอุตสาหกรรม
4. ขาดความรับผิดชอบ และระเบียบวินัยของสมาชิกในสังคม
1. ปัญหาความยากจน มีสาเหตุเกิดจาก
1. การเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากร
2. การขาดการศึกษา ทำให้มีรายได้ต่ำ
3. ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม
4. ลักษณะอาชีพมีรายได้ไม่แน่นอนสม่ำเสมอ เช่นกรรมกร รับจ้าง
5. มีบุตรมากเกินไป รายได้ไม่พอกับรายจ่าย
6. มีลักษณะนิสัยเฉื่อยชาและเกียจคร้าน ไม่ชอบทำงาน
2. ปัญหาอาชญากรรม มีสาเหตุเกิดจาก
1. การขาดความอบอุ่นทางจิตใจ2. การเปลี่ยนแปลงทางสังคมมากขึ้น
3. สิ่งแวดล้อมทางเศรษฐกิจและสังคม
4. มีค่านิยมในทางที่ผิด
3. ปัญหายาเสพย์ติด
1. ถูกชักชวนให้ทดลอง2. ประกอบอาชีพบางอย่างที่ต้องการเพิ่มงานมากขึ้น
3. ความอยากรู้และอยากทดลอง
4. สภาวะแวดล้อมไม่ดี
4. ปัญหาสิ่งแวดล้อม
เช่น อากาศเป็นพิษ น้ำเน่าเสีย เสียงเป็นพิษ ขยะมูลฝอย เป็นต้น มีสาเหตุเกิดจาก
1. การเพิ่มขึ้นของจำนวนประชากรอย่างรวดเร็ว
2. เกิดจากความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
3. การขยายตัวทางด้านอุตสาหกรรม
4. ขาดความรับผิดชอบ และระเบียบวินัยของสมาชิกในสังคม
บทที่1 สังคม
1.การขัดเกลาทางสังคม
วิธีการขัดเกลาทางสังคม ทำ ได้ 2 ทาง คือ
1. การขัดเกลาทางสังคมโดยทางตรง คือ การสั่งสอนและฝึกอบรมโดยพ่อแม่ และครูอาจารย์ทำให้
เด็กปฏิบัติตนตามที่สังคมคาดหวัง
2. การขัดเกลาทางสังคมโดยทางอ้อม อ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)